Author: web_admin3

Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย

ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย เรือประมงไทยที่มีใบอนุญาตจับสัตว์น้ำในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดียได้เก็บตัวอย่างของประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาได้จำนวน 14 ตัว การระบุชนิดในเบื้องต้นพบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับฉลามนางฟ้าแอฟริกา Squatina africana Regan, 1908 ซึ่งมักจะพบบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และแตกต่างจากฉลามนางฟ้าชนิดอื่น ๆ ที่พบในมหาสมุทรอินเดียและเขต Indo-West

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 14งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Variation of the mangrove sediment microbiomes and their phenanthrene biodegradation rates during the dry and wet seasons

เนื่องจากดินตะกอนป่าชายเลนจัดเป็นแหล่งสะสมของฟีแนนทรีน งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลต่ออัตราการย่อยฟีแนนทรีนที่ความเข้มสูง (1,200 มก./กก.) กลาง (600 มก./กก.) และต่ำ (150 มก./กก.) โดยกลุ่มจุลินทรีย์ในดินตะกอนป่าชายเลน งานวิจัยนี้เริ่มจากสร้างระบบจำลองขนาดเล็ก จากนั้นบ่งชี้แบคทีเรียย่อยฟีแนนทรีนโดยใช้เทคนิค high-throughput sequencing ในการวิเคราะห์ยีน 16S rRNA ร่วมกับการนับจำนวนยีน PAH-RHDα

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 6งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Arsenic speciation, the abundance of arsenite-oxidizing bacteria and microbial community structures in groundwater, surface water, and soil from a gold mine

งานวิจัยนี้วิเคราะห์จำนวนอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรีย โครงสร้างกลุ่มจุลินทรีย์ในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดินจากบริเวณเหมืองทองโดยใช้เทคนิค cloning-ddPCR ในการศึกษายีน aioA และเทคนิค high-throughput sequencing ในการศึกษายีน 16S rRNA รวมทั้งวิเคราะห์รูปแบบของสารหนูที่ปรากฏในแหล่งน้ำโดยใช้แบบจำลองทางอุทกธรณีเคมี PHREEQC ผลการศึกษายีน aioA แสดงให้เห็นว่าอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรียที่พบในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดิน

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2021:Abundance and habitat associations of the globally endangered Giant Nuthatch Sitta magna in Southern Shan State, Myanmar

งานวิจัยนี้ศึกษาพื้นที่อาศัยของนกไต่ไม้ใหญ่ (Sitta magna) ในประเทศเมียนมาร์ต่อเนื่องมาจากการศึกษาพื้นที่อาศัยในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งประเทศเมียนมาร์เป็นพื้นที่ที่นกไต่ไม้ใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 30% ของพื้นที่ที่นกชนิดนี้แพร่กระจาย ผลการศึกษาพบว่าประชากรนกไต่ไม้ใหญ่บริเวณ Mt. Ashae Myin Anauk Myin (AMAM) มีประมาณ 56 ตัว ต่อพื้นที่ 3.25 ตารางกิโลเมตร

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Giant Nuthatch Sitta magna density and habitat association in a potential stronghold in northern Thailand

นกไต่ไม้ใหญ่ (Sitta magna) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เนื่องจากมีการกระจายที่แคบ คือ ช่วงตอนใต้ของประเทศจีนต่อเนื่องมายังภาคเหนือของประเทศไทยและเมียนมาร์ ที่กำลังประสบปัญหาการบุกรุกทำลายพื้นที่ป่า ในส่วนของประเทศไทย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาวเป็นแหล่งอาศัยที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งของนกไต่ไม้ใหญ่ การศึกษาการกระจายและความหนาแน่นตลอดจนพฤติกรรมการหาอาหารเป็นการยืนยันสมมติฐานนี้ คือพื้นที่ป่าในดอยเชียงดาวมีความเหมาะสม ยิ่งไปกว่านั้น ความหนาแน่นของประชากรนกไต่ไม้ใหญ่ยังมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับขนาดของต้นไม้ ข้อมูลจากงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นความสำคัญของต้นไม้ขนาดใหญ่ในการเป็นแหล่งอาศัยที่สำคัญของนกไต่ไม้ใหญ่ ข้อมูลจากงานวิจัยนี้มีผลต่อการวางแผนการจัดการพื้นที่ป่าเพื่อรักษาสภาพความสมบูรณ์ โดยเฉพาะต้นไม้ขนาดใหญ่ที่เป็นแหล่งอาศัยสำคัญของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด รวมถึงสัตว์ป่าหายากที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างนกไต่ไม้ใหญ่ สอดคล้องกับ SDG ข้อที่

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 6งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Development of reactive iron-coated natural filter media for treating antibiotic residual in swine wastewater: Mechanisms, intermediates and toxicity

Development of reactive iron-coated natural filter media for treating antibiotic residual in swine wastewater: Mechanisms, intermediates and toxicity   งานวิจัยนี้ได้ศึกษากระบวนการย่อยสลายยาปฏิชีวนะที่ใช้กับสัตว์

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2021: ความสำคัญของพื้นที่อนุรักษ์ในภาคตะวันออกของประเทศไทยโดยพิจารณาจากพันธุศาสตร์ประชากรของปลาพลวง (Neolissochilus soroides)

เรื่อง ความสำคัญของพื้นที่อนุรักษ์ในภาคตะวันออกของประเทศไทยโดยพิจารณาจากพันธุศาสตร์ประชากรของปลาพลวง (Neolissochilus soroides) ปลาพลวงชนิด Neolissochilus soroides (ภาพ A) เป็นปลาน้ำจืดที่พบทั่วไปในบริเวณน้ำตกของภาคตะวันออกที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและคาบสมุทรมลายู การพบปลาพลวงเป็นจำนวนมากในแหล่งน้ำเป็นที่ดึงดูดของนักท่องเที่ยวให้มาเยี่ยมชม แม้ว่าปลาพลวงจะมีจำนวนมากมายในบริเวณน้ำตกในเขตอุทยานแห่งชาติซึ่งเป็นแหล่งน้ำคุณภาพดี น้ำใส มีปริมาณออกซิเจนมาก แต่เมื่อออกมาภายนอกเขตอุทยานซึ่งล้อมรอบไปด้วยสวนผลไม้และพื้นที่หมู่บ้าน กลับไม่พบปลาพลวงเลยโดยเฉพาะในฤดูแล้งที่น้ำในลำธารด้านล่างแห้งขอดหรือน้ำขุ่น นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่ที่พบตัวอย่างทั้งหมดอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติด้านที่หันหน้าเข้าอ่าวไทย ส่วนพื้นที่ที่อยู่ด้านหลังเทือกเขาในจังหวัดจันทบุรีในลุ่มน้ำโตนเลสาบล่าง ไม่พบปลาพลวง (ภาพ

Read More