แบบฟอร์มสำหรับใช้จองห้องของภาควิชาชีววิทยา

อาจารย์ที่ต้องการจองห้องของภาควิชาสำหรับการสอนหรือประชุมตามลิ้งข้างล่างนี้: https://docs.google.com/forms/d/1I3OmdEqCHSepBRQvTDW5egKWyzWa-hk6tr_5vRlGuNI/edit ตารางการจองห้อง https://calendar.google.com/calendar/embed?src=hybridroombooking%40gmail.com&ctz=Asia%2FBangkok หมายเหตุ: หากอาจารย์ต้องการใช้ห้อง N500 กรุณาแจ้งที่ นางภัคจิรา เกตุบุตร ด้วยครับ

Read more

Highlight Activities 2021: Proteomics and immunocharacterization of Asian mountain pit viper (Ovophis monticola) venom

งูหางแฮ่มภูเขาจัดเป็นงูมีพิษในกลุ่ม pit viper พบกระจายอยู่ตามแถบภูเขาสูงในเขตภาคเหนือของประเทศไทย องค์ความรู้เรื่องของพิษของงูชนิดนี้มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการรักษาผู้ป่วยที่ถูกงูชนิดนี้กัด ผลศึกษาด้วย mass spectrometry-based proteomics ในงานวิจัยนี้ พบว่าในมีพิษงูหางแฮ่มภูเขามีโปรตีนมากถึง 247 ชนิดเป็นองค์ประกอบ โดยโปรตีนกลุ่ม venom metalloproteases (SVMP) มีปริมาณสูงสุดคือ 36.8%

Read more

[ประชาสัมพันธ์] Google classroom รายวิชา SCBI 122, SCBI 123 และ SCBI 125

ขอให้นักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชา SCBI 122, SCBI 123 และ SCBI 125 เข้า Google classroom ของแต่ละรายวิชาตามภาพด้านล่างนี้

Read more

ขอเชิญชวนทุกท่านเข้าร่วมกิจกรรมวัน pitching day (SCBI 428)

[ประชาสัมพันธ์] การนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมจากองค์ความรู้ชีววิทยา โดย นักศึกษาชั้นปี 4 ภาควิชาชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนหนึ่งของวิชา Biocreative process and design (SCBI 428) ในวันศุกร์ที่ 26 พ.ย 2564 เวลา 9.00-12.30

Read more

ภาควิชาชีววิทยา จัดกิจกรรม “เปิดบ้านชีววิทยา”

📣ภาควิชาชีววิทยา จัดกิจกรรม “เปิดบ้านชีววิทยา”📣 📌–พบกับกิจกรรม– -ศึกษาสัตว์ผ่านกล้อง- -Biology digital Lab- -พูดคุยกับรุ่นพี่- ร่วมสนุกตอบคำถามหลังกิจกรรมลุ้นของรางวัลและเงินสด มูลค่ารวม 💰15,000 บาท💰 *********************************************************** :วันอาทิตย์ ที่ 7 พฤศจิกายน 2564 เวลา 08.30-16.30

Read more

Highlight Activities 2021: ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย

ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย เรือประมงไทยที่มีใบอนุญาตจับสัตว์น้ำในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดียได้เก็บตัวอย่างของประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาได้จำนวน 14 ตัว การระบุชนิดในเบื้องต้นพบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับฉลามนางฟ้าแอฟริกา Squatina africana Regan, 1908 ซึ่งมักจะพบบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และแตกต่างจากฉลามนางฟ้าชนิดอื่น ๆ ที่พบในมหาสมุทรอินเดียและเขต Indo-West

Read more

Highlight Activities 2021: Variation of the mangrove sediment microbiomes and their phenanthrene biodegradation rates during the dry and wet seasons

เนื่องจากดินตะกอนป่าชายเลนจัดเป็นแหล่งสะสมของฟีแนนทรีน งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลต่ออัตราการย่อยฟีแนนทรีนที่ความเข้มสูง (1,200 มก./กก.) กลาง (600 มก./กก.) และต่ำ (150 มก./กก.) โดยกลุ่มจุลินทรีย์ในดินตะกอนป่าชายเลน งานวิจัยนี้เริ่มจากสร้างระบบจำลองขนาดเล็ก จากนั้นบ่งชี้แบคทีเรียย่อยฟีแนนทรีนโดยใช้เทคนิค high-throughput sequencing ในการวิเคราะห์ยีน 16S rRNA ร่วมกับการนับจำนวนยีน PAH-RHDα

Read more

Highlight Activities 2021: Arsenic speciation, the abundance of arsenite-oxidizing bacteria and microbial community structures in groundwater, surface water, and soil from a gold mine

งานวิจัยนี้วิเคราะห์จำนวนอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรีย โครงสร้างกลุ่มจุลินทรีย์ในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดินจากบริเวณเหมืองทองโดยใช้เทคนิค cloning-ddPCR ในการศึกษายีน aioA และเทคนิค high-throughput sequencing ในการศึกษายีน 16S rRNA รวมทั้งวิเคราะห์รูปแบบของสารหนูที่ปรากฏในแหล่งน้ำโดยใช้แบบจำลองทางอุทกธรณีเคมี PHREEQC ผลการศึกษายีน aioA แสดงให้เห็นว่าอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรียที่พบในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดิน

Read more

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาภาควิชาชีววิทยาที่ได้รับรางวัล Young Rising Stars of Science Award 2020

  ภาควิชาชีววิทยาขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาภาควิชาชีววิทยาที่ได้รับรางวัล Young Rising Stars of Science Award 2020 รางวัลดาวรุ่งวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ประจำปี พ.ศ. 2563 จาก สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ 1. นางสาว พิชญ์สินี สรรพโรจน์พัฒนา หลักสูตรชีววิทยา ได้รับรางวัลเหรียญทอง

Read more

แนะนำหลักสูตร “ชีววิทยา”

โปสเตอร์แนะนำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา สำหรับงานมหิดลวิชาการ เปิดบ้านคณะวิทยาศาสตร์ เปิดภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล วันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09:00-16:00 ออกแบบโดย อ.วรุฒ

Read more