งานวิจัย

Highlight Activities 2020:งานวิจัย

Highlight Activities 2020: Immobilization of cadmium in contaminated soil using organic amendments and its effects on rice growth performance

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : การบริโภคข้าวปนเปื้อนแคดเมียมส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ มากมายโดยเฉพาะโรคทางกระดูกและโรคไตเรื้อรัง การแก้ไขปัญหาแคดเมียมปนเปื้อนในพืชอาหารทางการเกษตรโดยการประยุกต์ใช้สารปรับปรุงดินรูปอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก และปุ๋ยหมัก ได้รับการพิจารณาว่ามีประสิทธิภาพต่อการลดการดูดซึมแคดเมียมของพืชผ่านทางราก งานวิจัยนี้ได้เลือกศึกษา โดยนำข้าวสายพันธุ์ไทย ๒ พันธุ์ ได้แก่ ช่อราตรี และหอมมะลิแดง ปลูกในดินปนเปื้อนแคดเมียมผสมมูลวัว

Read More
Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Cadmium (Cd) and Zinc (Zn) accumulation by Thai rice varieties and health risk assessment in a Cd-Zn co-contaminated paddy field

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : การทำเหมืองสังกะสีในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ส่งผลต่อ การปนเปื้อนแคดเมียม และ สังกะสีในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตร ข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญและให้ผลผลิตที่มีคุณภาพสูง ซึ่งสะสมปริมาณแคดเมียมเกินค่ามาตรฐานการบริโภคที่กำหนดโดย CODEX ในระดับ ๐.๒ มิลลิกรัม/กิโลกรัม และประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากการได้รับพิษแคดเมียม ทำให้เกิดโรคทางกระดูกและโรคไตเรื้อรัง ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้ศึกษาหาวิธีในการลดการเคลื่อนที่ของแคดเมียมและสังกะสี โดยเลือกใช้สารปรับปรุงดิน

Read More
Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Root hair phenotypes influence nitrogen acquisition in maize

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : เนื่องจากองค์ความรู้เกี่ยวกับหน้าที่ของขนรากต่อประสิทธิภาพการดูดซับไนโตรเจนยังมีอยู่น้อยมาก คณะผู้วิจัยจึงได้ศึกษาหน้าที่ของขนรากโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยโมเดลชื่อ SimRoot และทดสอบข้าวโพดที่มีความแตกต่างในความยาวของขนรากในระบบโรงเรือนและในแปลงเพาะปลูก ผลจากการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์แสดงให้เห็นว่าขนรากที่ยาวและหนาแน่นสามารถเพิ่มการดูดซับไนโตรเจนได้ การทดลองในโรงเรือนเพาะปลูก แสดงให้เห็นว่าแอมโมเนียมไม่มีผลต่อความยาวขนรากแต่ภาวะไนเตรทต่ำเพิ่มความยาวขนราก ในขณะที่กี่ทดลองในแปลงปลูกพบว่าภาวะไนโตรเจนต่ำลดความยาวของขนราก การมีขนรากยาวมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มชีวมวล ๒๑๖% และการสะสมไนโตรเจน ๒๓๗%  ในสภาวะไนโตรเจนต่ำในโรงเรือนเพาะปลูก เพิ่มชีวมวล ๒๕๐%  และการสะสมไนโตรเจน ๒๐๐% 

Read More
Highlight Activities 2022:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2022: Genetic analysis of hybridization between white-handed (Hylobates lar) and pileated (Hylobates pileatus) gibbons in a contact zone in Khao Yai National Park, Thailand

Asst. Prof. Chalita Kongrit โดยปกติแล้วชะนีแต่ละชนิดที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติมีการกระจายตัวไม่ซ้อนทับกัน (allopatric distribution)  แต่มีเพียง 3 แห่งในโลกนี้เท่านั้นที่พบชะนีต่างชนิดอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นเพียงพื้นที่เดียวที่พบชะนีมือขาว (Hylobates lar) และชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatus) อาศัยอยู่ในพื้นที่ซ้อนทับ (contact zone) ร่วมกัน

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Proteomics and immunocharacterization of Asian mountain pit viper (Ovophis monticola) venom

งูหางแฮ่มภูเขาจัดเป็นงูมีพิษในกลุ่ม pit viper พบกระจายอยู่ตามแถบภูเขาสูงในเขตภาคเหนือของประเทศไทย องค์ความรู้เรื่องของพิษของงูชนิดนี้มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการรักษาผู้ป่วยที่ถูกงูชนิดนี้กัด ผลศึกษาด้วย mass spectrometry-based proteomics ในงานวิจัยนี้ พบว่าในมีพิษงูหางแฮ่มภูเขามีโปรตีนมากถึง 247 ชนิดเป็นองค์ประกอบ โดยโปรตีนกลุ่ม venom metalloproteases (SVMP) มีปริมาณสูงสุดคือ 36.8%

Read More
Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย

ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย เรือประมงไทยที่มีใบอนุญาตจับสัตว์น้ำในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดียได้เก็บตัวอย่างของประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาได้จำนวน 14 ตัว การระบุชนิดในเบื้องต้นพบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับฉลามนางฟ้าแอฟริกา Squatina africana Regan, 1908 ซึ่งมักจะพบบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และแตกต่างจากฉลามนางฟ้าชนิดอื่น ๆ ที่พบในมหาสมุทรอินเดียและเขต Indo-West

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 14งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Variation of the mangrove sediment microbiomes and their phenanthrene biodegradation rates during the dry and wet seasons

เนื่องจากดินตะกอนป่าชายเลนจัดเป็นแหล่งสะสมของฟีแนนทรีน งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลต่ออัตราการย่อยฟีแนนทรีนที่ความเข้มสูง (1,200 มก./กก.) กลาง (600 มก./กก.) และต่ำ (150 มก./กก.) โดยกลุ่มจุลินทรีย์ในดินตะกอนป่าชายเลน งานวิจัยนี้เริ่มจากสร้างระบบจำลองขนาดเล็ก จากนั้นบ่งชี้แบคทีเรียย่อยฟีแนนทรีนโดยใช้เทคนิค high-throughput sequencing ในการวิเคราะห์ยีน 16S rRNA ร่วมกับการนับจำนวนยีน PAH-RHDα

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 6งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Arsenic speciation, the abundance of arsenite-oxidizing bacteria and microbial community structures in groundwater, surface water, and soil from a gold mine

งานวิจัยนี้วิเคราะห์จำนวนอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรีย โครงสร้างกลุ่มจุลินทรีย์ในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดินจากบริเวณเหมืองทองโดยใช้เทคนิค cloning-ddPCR ในการศึกษายีน aioA และเทคนิค high-throughput sequencing ในการศึกษายีน 16S rRNA รวมทั้งวิเคราะห์รูปแบบของสารหนูที่ปรากฏในแหล่งน้ำโดยใช้แบบจำลองทางอุทกธรณีเคมี PHREEQC ผลการศึกษายีน aioA แสดงให้เห็นว่าอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรียที่พบในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดิน

Read More