งานวิจัย

Highlight ActivitiesRELATED SDGs : 6งานวิจัย

Highlight Activities 2020: Enrichment and characterization of bacterial consortia for degrading 2-mercaptobenzothiazole in rubber industrial wastewater

Enrichment and characterization of bacterial consortia for degrading 2-mercaptobenzothiazole in rubber industrial wastewater   สาร Benzothiazoles โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 2-mercaptobenzothiazole (2-MBT) ในน้ำเสียจากกระบวนการผลิตยางสามารถถูกรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมและส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ 

Read More
Highlight Activitiesงานวิจัย

Highlight Activities 2020: Characterization of Methyltestosterone Degrading Bacteria Isolated from Tilapia Masculinizing Ponds: Metabolic Intermediate, Glucose Amendments Effects, and Other Hormones Transformation

Characterization ofMethyltestosterone Degrading Bacteria Isolated from Tilapia Masculinizing Ponds: Metabolic Intermediate, Glucose Amendments Effects, and Other Hormones Transformation   ฮอร์โมน

Read More
Highlight ActivitiesRELATED SDGs : 6งานวิจัย

Highlight Activities: Mechanisms of arsenic contamination associated with hydrochemical characteristics in coastal alluvial aquifers using multivariate statistical technique and hydrogeochemical modeling: a case study in Rayong province, eastern Thailand

Mechanisms of arsenic contamination associated with hydrochemical characteristics in coastal alluvial aquifers using multivariate statistical technique and hydrogeochemical modeling: a

Read More
Highlight ActivitiesHighlight Activities 2021:RELATED SDGs : 2งานวิจัย

Highlight Activities: Rapid detection of Clostridium perfringens in food by loop-mediated isothermal amplification combined with a lateral flow biosensor

คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ ดิน น้ำ ทางเดินอาหารของสัตว์และมนุษย์  หากได้รับเข้าสู่ร่างกายจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องร่วง โดยอาการดังกล่าวจะเกิดใน 8-22 ชั่วโมง หลังจากรับประทานอาหาร เช่น อาหารที่มีเนื้อสัตว์เป็นองค์ประกอบ อาหารที่ปรุงสุกพร้อมรับประทาน อาหารแห้ง สมุนไพร เครื่องเทศ ซอสเกรวี่ ที่ปนเปื้อนเชื้อดังกล่าวเข้าไป

Read More
Highlight ActivitiesRELATED SDGs : 3งานวิจัย

Highlight Activities: Taxono-genomics description of Olsenella lakotia SW165T sp. nov., a new anaerobic bacterium isolated from the cecum of feral chicken

สังคมจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร มีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเจ้าบ้าน จุลินทรีย์ในลำไส้มีหลากหลายและมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอย่างซับซ้อน บางกลุ่มให้ประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตเจ้าบ้านในทางบวก เช่นประโยชน์ทางโภชนาการ โดยการผลิตกรดไขมันสายสั้น เอนไซม์ และกรดอะมิโน รวมถึงมีความสามารถในการต่อต้านควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรคการพัฒนาภูมิคุ้มกัน และรักษาสภาวะสมดุล บางกลุ่มก่อให้เกิดโทษ ทำให้สิ่งมีชีวิตเจ้าบ้านอ่อนแอ ไม่สบายและก่อให้เกิดโรค ในปัจจุบันถึงแม้ว่าจะมีวิธีการศึกษาชนิดและความหลากหลายของจุลินทรีย์โดยที่ไม่ขึ้นกับการแยกและเพาะเลี้ยงเชื้อ แต่อย่างไรก็ตามในการศึกษาหน้าที่และปฏิสัมพันธ์ของจุลินทรียในลำไส้ จำเป็นต้องมีการเพาะแยกเชื้อ เพื่อศึกษาลักษณะและคุณสมบัติของจุลินทรีย์ ในปัจจุบัน แบคทีเรียในลำไส้ของสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับการแยกและศึกษาในห้องปฏิบัติการ เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการสภาวะที่จะใช้ในการแยกและเพาะเลี้ยงเชื้อ ในการศึกษานี้จึงได้พัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงและแยกเชื้อแบบ

Read More