RELATED SDGs : 2

Highlight ActivitiesHighlight Activities 2024RELATED SDGs : 2งานวิจัย

Highlight Activities 2024: Genetic structure of the commercial stingless bee Heterotrigona itama (Apidae: Meliponini) in Thailand

โครงสร้างทางพันธุกรรมของชันโรงชนิด Heterotrigona itama ที่เลี้ยงทางเศรษฐกิจในประเทศไทย Stingless beekeeping (meliponiculture) is increasingly popular for pollination and honey/propolis production. However, it leads to bee

Read More
Highlight ActivitiesHighlight Activities 2024RELATED SDGs : 2งานวิจัย

Highlight Activities 2024: Chemical Profile and In Vitro Gut Microbiota Modulation of Wild Edible Mushroom Phallus atrovolvatus Fruiting Body at Different Maturity Stages

ลักษณะทางเคมีและการเปลี่ยนแปลงจุลินทรีย์ที่มาจากลำไส้ของเห็ดป่า Phallus atrovolvatus ในระยะการเจริญเติบโตที่แตกต่างกัน เห็ดป่าชนิด Phallus atrovolvatus เป็นเห็ดที่ได้รับความสนใจในการบริโภคเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์และมีประโยชน์ต่อสุขภาพ  การศึกษานี้ได้วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของดอกเห็ดในระยะไข่และระยะเจริญโตเต็มที่ และตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์ที่มาจากลำไส้และทางเคมีจำลองการเปลี่ยนแปลงภายหลังการบริโภคเห็ด  ซึ่งในระยะไข่พบว่ามีปริมาณคาร์โบไฮเดรตรวม เส้นใยอาหาร กลูแคน เถ้า และไขมันสูงกว่าเห็ดระยะเติบโตเต็มที่  ในขณะที่ปริมาณโปรตีนรวมต่ำกว่า  จากนั้นได้ทำการศึกษาเห็ดบริโภคในสองลักษณะ คือ เห็ดปรุงสุกและสารสกัดน้ำจากเห็ด

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 2งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Draft Genome Sequence of Neobacillus cucumis Strain T4S4, a Stevioside and Rebaudioside A Hydrolytic Strain Isolated from Tropical Forest Soil

ประเทศไทยมีสภาพภูมิประเทศแบบร้อนชื้น จึงเป็นแหล่งความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ที่สำคัญ งานวิจัยนี้ได้คัดแยกเชื้อแบคทีเรียจากดินที่เก็บจากป่าในจังหวัดน่าน ที่มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์ย่อย stevioside และ rebaudioside A ซึ่งเป็นน้ำตาลที่พบในหญ้าหวาน (stevia rebaudiana) จากเชื้อแบคทีเรียทั้งหมดที่แยกได้จำนวน 108 ไอโซเลท พบว่า 4 ไอโซเลทมีความสามารถในการผลิตเอนไซม์ดังกล่าว หลังจากนั้นได้คัดเลือกไอโซเลท T4S4 ซึ่งมีประสิทธิภาพในการสร้างเอนไซม์ได้สูงสุดไปศึกษาลำดับเบสของจีโนมเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาวิเคราะห์ยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเอนไซม์และคุณสมบัติอื่น

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 2งานวิจัย

Highlight Activities 2021:Rapid and simultaneous detection of Campylobacter spp. and Salmonella spp. in chicken samples by duplex loop-mediated isothermal amplification coupled with a lateral flow biosensor assay

การรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีเชื้อโรคปนเปื้อน ก่อให้เกิดโรคจากอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปนเปื้อนของเชื้อ Campylobacter spp. และ Salmonella spp. เป็นสาเหตุสำคัญของโรคลำไส้อักเสบในมนุษย์ และอาการอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้  เชื้อก่อโรคทั้งสองชนิดนี้พบปนเปื้อนได้บ่อยในสัตว์ปีก โดยเฉพาะเนื้อไก่ การบริโภคเนื้อสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ปนเปื้อนเชื้อที่ปรุงไม่สุก เป็นการแพร่กระจายของเชื้อเหล่านี้จากสัตว์ปีกสู่มนุษย์ เป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชนอย่างร้ายแรง เพื่อป้องกันการระบาดของโรคที่เกิดจากอาหาร การทดสอบทางจุลชีววิทยาจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานความปลอดภัยและคุณภาพของการผลิตอาหารเพื่อการบริโภค วิธีมาตรฐานในการตรวจหาเชื้อปนเปื้อนในอาหารคือการเพาะเชื้อร่วมกับการทดสอบทางชีวเคมี

Read More
Highlight ActivitiesHighlight Activities 2021:RELATED SDGs : 2งานวิจัย

Highlight Activities: Rapid detection of Clostridium perfringens in food by loop-mediated isothermal amplification combined with a lateral flow biosensor

คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ ดิน น้ำ ทางเดินอาหารของสัตว์และมนุษย์  หากได้รับเข้าสู่ร่างกายจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องร่วง โดยอาการดังกล่าวจะเกิดใน 8-22 ชั่วโมง หลังจากรับประทานอาหาร เช่น อาหารที่มีเนื้อสัตว์เป็นองค์ประกอบ อาหารที่ปรุงสุกพร้อมรับประทาน อาหารแห้ง สมุนไพร เครื่องเทศ ซอสเกรวี่ ที่ปนเปื้อนเชื้อดังกล่าวเข้าไป

Read More