Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Proteomics and immunocharacterization of Asian mountain pit viper (Ovophis monticola) venom

งูหางแฮ่มภูเขาจัดเป็นงูมีพิษในกลุ่ม pit viper พบกระจายอยู่ตามแถบภูเขาสูงในเขตภาคเหนือของประเทศไทย องค์ความรู้เรื่องของพิษของงูชนิดนี้มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการรักษาผู้ป่วยที่ถูกงูชนิดนี้กัด ผลศึกษาด้วย mass spectrometry-based proteomics ในงานวิจัยนี้ พบว่าในมีพิษงูหางแฮ่มภูเขามีโปรตีนมากถึง 247 ชนิดเป็นองค์ประกอบ โดยโปรตีนกลุ่ม venom metalloproteases (SVMP) มีปริมาณสูงสุดคือ 36.8%

Read More
รายวิชา

ขอเชิญชวนทุกท่านเข้าร่วมกิจกรรมวัน pitching day (SCBI 428)

[ประชาสัมพันธ์] การนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมจากองค์ความรู้ชีววิทยา โดย นักศึกษาชั้นปี 4 ภาควิชาชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนหนึ่งของวิชา Biocreative process and design (SCBI 428) ในวันศุกร์ที่ 26 พ.ย 2564 เวลา 9.00-12.30

Read More
กิจกรรมเสริมหลักสูตร

ภาควิชาชีววิทยา จัดกิจกรรม “เปิดบ้านชีววิทยา”

📣ภาควิชาชีววิทยา จัดกิจกรรม “เปิดบ้านชีววิทยา”📣 📌–พบกับกิจกรรม– -ศึกษาสัตว์ผ่านกล้อง- -Biology digital Lab- -พูดคุยกับรุ่นพี่- ร่วมสนุกตอบคำถามหลังกิจกรรมลุ้นของรางวัลและเงินสด มูลค่ารวม 💰15,000 บาท💰 *********************************************************** :วันอาทิตย์ ที่ 7 พฤศจิกายน 2564 เวลา 08.30-16.30

Read More
Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย

ความหลากหลายประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาชนิดใหม่ (Squatina cf. africana Regan, 1908) ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย เรือประมงไทยที่มีใบอนุญาตจับสัตว์น้ำในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดียได้เก็บตัวอย่างของประชากรฉลามนางฟ้าแอฟริกาได้จำนวน 14 ตัว การระบุชนิดในเบื้องต้นพบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับฉลามนางฟ้าแอฟริกา Squatina africana Regan, 1908 ซึ่งมักจะพบบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และแตกต่างจากฉลามนางฟ้าชนิดอื่น ๆ ที่พบในมหาสมุทรอินเดียและเขต Indo-West

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 14งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Variation of the mangrove sediment microbiomes and their phenanthrene biodegradation rates during the dry and wet seasons

เนื่องจากดินตะกอนป่าชายเลนจัดเป็นแหล่งสะสมของฟีแนนทรีน งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลต่ออัตราการย่อยฟีแนนทรีนที่ความเข้มสูง (1,200 มก./กก.) กลาง (600 มก./กก.) และต่ำ (150 มก./กก.) โดยกลุ่มจุลินทรีย์ในดินตะกอนป่าชายเลน งานวิจัยนี้เริ่มจากสร้างระบบจำลองขนาดเล็ก จากนั้นบ่งชี้แบคทีเรียย่อยฟีแนนทรีนโดยใช้เทคนิค high-throughput sequencing ในการวิเคราะห์ยีน 16S rRNA ร่วมกับการนับจำนวนยีน PAH-RHDα

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 6งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Arsenic speciation, the abundance of arsenite-oxidizing bacteria and microbial community structures in groundwater, surface water, and soil from a gold mine

งานวิจัยนี้วิเคราะห์จำนวนอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรีย โครงสร้างกลุ่มจุลินทรีย์ในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดินจากบริเวณเหมืองทองโดยใช้เทคนิค cloning-ddPCR ในการศึกษายีน aioA และเทคนิค high-throughput sequencing ในการศึกษายีน 16S rRNA รวมทั้งวิเคราะห์รูปแบบของสารหนูที่ปรากฏในแหล่งน้ำโดยใช้แบบจำลองทางอุทกธรณีเคมี PHREEQC ผลการศึกษายีน aioA แสดงให้เห็นว่าอาร์ซีไนต์ออกซิไดซิงแบคทีเรียที่พบในน้ำใต้ดิน น้ำผิวดิน และดิน

Read More
นักศึกษารางวัลหลักสูตร

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาภาควิชาชีววิทยาที่ได้รับรางวัล Young Rising Stars of Science Award 2020

  ภาควิชาชีววิทยาขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาภาควิชาชีววิทยาที่ได้รับรางวัล Young Rising Stars of Science Award 2020 รางวัลดาวรุ่งวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ประจำปี พ.ศ. 2563 จาก สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ 1. นางสาว พิชญ์สินี สรรพโรจน์พัฒนา หลักสูตรชีววิทยา ได้รับรางวัลเหรียญทอง

Read More
หลักสูตร

แนะนำหลักสูตร “ชีววิทยา”

โปสเตอร์แนะนำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา สำหรับงานมหิดลวิชาการ เปิดบ้านคณะวิทยาศาสตร์ เปิดภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล วันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09:00-16:00 ออกแบบโดย อ.วรุฒ

Read More
Highlight Activities 2021:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2021:Abundance and habitat associations of the globally endangered Giant Nuthatch Sitta magna in Southern Shan State, Myanmar

งานวิจัยนี้ศึกษาพื้นที่อาศัยของนกไต่ไม้ใหญ่ (Sitta magna) ในประเทศเมียนมาร์ต่อเนื่องมาจากการศึกษาพื้นที่อาศัยในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งประเทศเมียนมาร์เป็นพื้นที่ที่นกไต่ไม้ใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 30% ของพื้นที่ที่นกชนิดนี้แพร่กระจาย ผลการศึกษาพบว่าประชากรนกไต่ไม้ใหญ่บริเวณ Mt. Ashae Myin Anauk Myin (AMAM) มีประมาณ 56 ตัว ต่อพื้นที่ 3.25 ตารางกิโลเมตร

Read More