Highlight Activities 2022: Genetic analysis of hybridization between white-handed (Hylobates lar) and pileated (Hylobates pileatus) gibbons in a contact zone in Khao Yai National Park, Thailand

Asst. Prof. Chalita Kongrit โดยปกติแล้วชะนีแต่ละชนิดที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติมีการกระจายตัวไม่ซ้อนทับกัน (allopatric distribution)  แต่มีเพียง 3 แห่งในโลกนี้เท่านั้นที่พบชะนีต่างชนิดอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นเพียงพื้นที่เดียวที่พบชะนีมือขาว (Hylobates lar) และชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatus) อาศัยอยู่ในพื้นที่ซ้อนทับ (contact zone) ร่วมกัน

Read more

Highlight Activities 2021: Proteomics and immunocharacterization of Asian mountain pit viper (Ovophis monticola) venom

งูหางแฮ่มภูเขาจัดเป็นงูมีพิษในกลุ่ม pit viper พบกระจายอยู่ตามแถบภูเขาสูงในเขตภาคเหนือของประเทศไทย องค์ความรู้เรื่องของพิษของงูชนิดนี้มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการรักษาผู้ป่วยที่ถูกงูชนิดนี้กัด ผลศึกษาด้วย mass spectrometry-based proteomics ในงานวิจัยนี้ พบว่าในมีพิษงูหางแฮ่มภูเขามีโปรตีนมากถึง 247 ชนิดเป็นองค์ประกอบ โดยโปรตีนกลุ่ม venom metalloproteases (SVMP) มีปริมาณสูงสุดคือ 36.8%

Read more