ปฏิบัติการรายวิชา

SCBI 104 Biology Laboratories 2

วิชา วทชว 104 ปฏิบัติการชีววิทยา 2 มีการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2 ของทุกปีการศึกษา

หน่วยกิต 1 (0-1-0)

ปีการศึกษา 2561-2562

ตารางคุมสอบ

ผู้ประสานงานรายวิชา: อ.เอกชัย และ อ.ชลิตา

ปีการศึกษา 2560-2561

ผู้ประสานงานรายวิชา: อ.เอกชัย และ อ.ชลิตา

ปีการศึกษา 2559-2560

อาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา: อ.เอกชัย และ อ.ชลิตา

สถานที่เรียน: ห้องปฏิบัติการชีววิทยา อาคารวิทยาศาสตร์ 3 มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

ปฏิบัติการ เนื้อหา หมายเหตุ
ความหลากหลายของสัตว์ 3 สารคดีอัศจรรย์แห่งชีวิต (BBC Life Documentary Part 1) ดูวิดีทัศน์ ทำรายงานโดยตอบคำถาม (งานกลุ่ม) และสอบย่อย (รายคน)

กำหนดการประชุมเตรียมความพร้อมผู้ช่วยสอน วันพุธ เวลาจะเริ่มประมาณ 8.45 น.

ปฏิบัติการ Shape of Life + Diversity of Life (อ.เอกชัย, อ.ชลิตา, อ.เมธา, อ.ฐิตินันท์)
          วันที่ 11 มกราคม ลงให้ 6 ชม.
ปฏิบัติการ Plant Diversity of Life + Animal Diversity 1 (อ.ปฐมพงศ์, อ.พหล, อ.ณัฐพล, อ.เอกชัย)
            วันที่ 18 มกราคม ลงให้ 6 ชม.
ปฏิบัติการ Animal Diversity 2, 3  (อ.ณัฐพล, อ.เอกชัย)
             วันที่ 25 มกราคม ลงให้ 6 ชม.
ปฏิบัติการ Animal Development 1,2 (อ.ชูวงศ์, อ.สุรางค์)
             วันที่ 1 มีนาคม ลงให้ 6 ชม.
ปฏิบัติการ Nervous + Circulatory systems (อ.ระพี, อ.วัชรีพร)
             วันที่ 29 มีนาคม ลงให้ 6 ชม.

กำหนดสอบแก้ตัว วทชว 104

ตารางเรียน

SCBI104_2015-2016

ตารางคุมปฏิบัติการสำหรับอาจารย์และเจ้าหน้าที่ (SCBI104_Demonstration_Table_1-3_2016)

การเข้าชมสารคดี The Shape of Life

เข้าเว็บไซต์งานศาลายา http://salaya.sc.mahidol.ac.th/
1. เข้าเว็บไซต์งานศาลายา http://salaya.sc.mahidol.ac.th/

 

scbi104_electure_2016_02

2. เข้าสู่ eLecture แล้วเลือก “สำหรับนักศึกษาอื่น ๆ” (Intranet เท่านั้น)

scbi104_electure_2016_03

3. เลือกชมวีดิโอของรายวิชา SCBI 104 มี 8 ตอน

scbi104_electure_2016_04

4. ในกรณีที่ไม่ได้ใช้อินเตอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยมหิดล ให้ใช้ระบบ VPN (Virtual Private Network) ที่ https://vpn.mahidol.ac.th เพื่อเข้าระบบเสมือนใช้อินเตอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยมหิดล (อาจต้องดาวน์โหลด App เพื่อใช้ผ่านมือถือระบบ Android หรือ iOS)

คู่มือปฏิบัติการ

  • หนังสือคู่มือปฏิบัติการ
  • รายงานปฏิบัติการ

ปฏิบัติการ

  • ปฏิบัติการที่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (แบคทีเรีย, สาหร่าย, ฟังไจ)
  • ปฏิบัติการที่ 2 ความหลากหลายของพืช
  • ปฏิบัติการที่ 3 ความหลากหลายของสัตว์ 1 (โพรติส, สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 1)
    • เฉลยสอบย่อย
รอบจันทร์เช้า
Quiz ข้อที่ คำตอบ (ห้อง-โต๊ะ) ตัวอย่างที่มี
1 2-3 Amoeba/Radiolaria/Foraminifera
2 2-6 Spongila/Spongin fiber
3 2-11 Physalia
4 2-15 ปะการังถ้วย/ ดอกไม้ทะเล/ ปะการังสมอง
5 2-16 Ephyra young medusa
6 3-6 เม็ดสาคู/Scolex ตืดวัว
7 3-11 Hook worm
8 3-4 Opisthochis viverini
9 3-3 Miracidium/redia/cercaria
10 3-1 Planaria
รอบจันทร์บ่าย คำตอบ (ห้อง-โต๊ะ) ตัวอย่างที่มี
1 2-1 Ceratium/ Noctiluca/ Volvox
2 2-5 Sponge/ Gemmule
3 2-12 Jelly/ planula/ strobili/ scyphistoma
4 2-15 ปะการังถ้วย/ดอกไม้ทะเล/ ปะการังสมอง
5 2-8 Paramecium/Vorticella/ Didinium
6 3-9 Dipylidium/ Diphylllobothrium
7 3-12 Trichuris/Enterobius/Gnathostoma
8 3-8 Schistosoma
9 3-10 Ascaris lumbricoides
10 3-1 Planaria

การประเมินผล

  • การเข้าทำปฏิบัติการ 10%
  • รายงานหรือสอบย่อยท้ายปฏิบัติการ 10%
  • คะแนน MU LabPass 10%
  • สอบกลางภาค (แล็บกริ๊ง) 35%
  • สอบปลายภาค (แล็บกริ๊ง) 35%

การมีสิทธิ์สอบ

  • มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 80%

การพิจารณาระดับคะแนน (เกรด)

  • 80-100% ได้เกรด A
  • 75-79% ได้เกรด B+
  • 70-74% ได้เกรด B
  • 65-69% ได้เกรด C+
  • 60-64% ได้เกรด C
  • 55-59% ได้เกรด D+
  • 50-54% ได้เกรด D
  • 0-49% ได้เกรด F

การประกาศผลการเรียนอย่างไม่เป็นทางการ

SCBI104_Grade_Announcement_20160511

  • ในปีการศึกษา 2559 มีการประกาศผลการเรียนอย่างไม่เป็นทางการ ที่บอร์ดหน้าห้อง SC3 306 ในวันที่ 11 มีนาคม 2559

การแก้ผลการเรียนที่เป็น F

  • ให้นักศึกษาที่มีผลการเรียนเป็น F และประสงค์ที่จะแก้ผลการเรียน เขียนคำร้องขอสอบแก้ตัวและยื่นคำร้องที่งานการศึกษา หลังปิดภาคการศึกษา หรือตามที่งานการศึกษากำหนด
  • กำหนดวันและเวลาสอบแก้ตัว ตามที่งานการศึกษากำหนด (ในปี 2558 สอบในเดือนกรกฎาคม)
  • วิชา วทชว 102 และ 104 มีเพียงการสอบแก้ตัว ไม่มีการเปิดเรียนภาคฤดูร้อน
  • การสอบแก้ตัว เป็นสิทธิ์สำหรับผู้ที่ได้ผลการเรียนเป็น F ในปีการศึกษาปัจจุบัน (2558-2559) น.ศ.ที่มีผลการเรียนเป็น F จากปีการศึกษาอื่นไม่มีสิทธิ์สอบแก้ตัว
  • ผู้ที่สอบผ่าน ในการสอบแก้ตัวจะได้รับผลการเรียนเป็น D ผู้ที่สอบไม่ผ่านในการสอบแก้ตัวจะมีผลการเียนเป็น F คงเดิม (เกณฑ์ผ่าน 50%)
  • เนื้อหาในการสอบแก้ตัว เป็นเนื้อหาของทั้งภาคการศึกษา
  • ลักษณะการสอบอาจเป็นแบบปฏิบัติ (แล็บกริ๊ง) หรือข้อเขียน
  • ประกาศผลการสอบแก้ตัวปลายเดือนกรกฎาคม หรือต้นเดือนสิงหาคม
  • นักศึกษาที่สอบแก้ตัวไม่ผ่าน หรือไม่สอบแก้ตัวและมีผลการเรียนเป็น F ต้องลงทะเบียนเรียนวิชาปฏิบัติการชีววิทยาใหม่ หากเป็นวิชาบังคับ เพื่อจบการศึกษา (หากได้ F ซ้ำกัน 3 ครั้งในวิชาเดียวกัน จะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา)
  • กำหนดสอบแก้ตัว วันพุธที่ 13 กรกฎาคม 2559 เวลา 1100-1200

รายชื่อนักศึกษา (Class list)

ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง