Molecular phylogeny and taxonomic position of Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911), with descriptions of two new species from Thailand (Decapoda, Caridea, Palaemonidae)
Molecular phylogeny and taxonomic position of Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911), with descriptions of two new species from Thailand (Decapoda, Caridea, Palaemonidae)
Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911), a translucent freshwater prawn has a wide distribution range throughout mainland Southeast Asia. A high morphological variation and genetic divergence between different geographical M. lanchesteri populations in Thailand have peculiarly extended the uncertainty of species boundaries and blended confusingly with several Macrobrachium species. To clarify these circumstances, broad sample examinations of the morphological variation, including topotype specimens, and phylogenetic reconstruction based on the concatenated mitochondrial dataset (16s rRNA and COI genes) were performed. Broad morphological examination of M. lanchesteri has shown congruency with phylogenetic analyses by revealing prominent lineages of M. lanchesteri sensu stricto and two new sibling lineages with interspecific variation between 6.48–8.76% for COI and 3.06–4.23% for 16S. Descriptions of two new species, named herein as M. panhai Chaowvieng & Siriwut, 2024 and M. rostrolevatus Chaowvieng & Siriwut, 2024 are provided. Morphological investigation of rostral form suggested plasticity in M. rostrolevatus populations showing the morphological trait associated with their habitat preferences. Furthermore, phylogenetic positions of the three taxa affirmed the hidden diversity of Thai freshwater Macrobrachium fauna correlated with the river network in the Mekong and Chao Phraya basins, Thailand. The genetic data and distribution records obtained in this study may also assist future river conservation plans as well as the sustainable management of freshwater prawn diversity.
การศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการและการตรวจสอบสถานะทางอนุกรมวิธานของกุ้งฝอย Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911) และการบรรยายลักษณะกุ้งฝอย 2 สปีชีส์ใหม่ในประเทศไทย
กุ้งฝอย Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911) จัดเป็นสัตว์มีค่าทางเศรษฐกิจเนื่องจากเป็นที่นิยมบริโภคอย่างแพร่หลาย มีการกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำจืดของประเทศ จากรายงานในอดีตระบุว่า M. lanchesteri ในประเทศไทยมีความแปรผันทางลักษณะสัณฐานวิทยาและทางตรวจพบความแตกต่างระหว่างพันธุกรรมในประชากรระหว่างเขตภูมิศาสตร์ที่สูง ซึ่งส่งผลให้ความคลุมเครือทางด้านอนุกรมวิธานและการจำแนกสปีชีส์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางสัณฐานวิทยาและสถานะความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของกุ้ง M. lanchesteri รวมถึงสปีชีส์ใกล้เคียง จากการศึกษาด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและข้อมูลทางพันธุกรรมจากตัวอย่างทั่วประเทศไทยพบว่ากุ้งฝอยน้ำจืดในประเทศไทยถูกแบ่งออกเป็น 3 สปีชีส์ ได้แก่ M. lanchesteri และ 2 สปีชีส์ที่ค้นพบใหม่ในงานศึกษาครั้งนี้ คือ M. panhai Chaowvieng & Siriwut, 2024 ซึ่งการกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำโขง และ M. rostrolevatus Chaowvieng & Siriwut, 2024 ซึ่งการกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดในที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเท่านั้น จากการค้นพบนี้ได้ยืนยันสถานะทางอนุกรมวิธานและอธิบายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของกุ้งฝอย M. lanchesteri รวมถึงมีส่วนช่วยเพิ่มเติมองค์ความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพของของกุ้งน้ำจืดในประเทศไทย
งานวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ 15 ของแผนการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คือ ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้การกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟื้นสภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
และมุ่งในประเด็นเป้าหมายย่อย 15.1 สร้างหลักประกันว่าจะมีการอนุรักษ์ การฟื้นฟู และการใช้ระบบนิเวศบนบกและแหล่งน้ำจืดในแผ่นดิน รวมทั้งบริการทางระบบนิเวศอย่างยั่งยืน
Citation
Chaowvieng A, Sutcharit C, Chanabun R, Srisonchai R, Jeratthitikul E, Siriwut W (2024) Molecular phylogeny and taxonomic position of Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911), with descriptions of two new species from Thailand (Decapoda, Caridea, Palaemonidae). ZooKeys 1190: 163-193. https://doi.org/10.3897/zookeys.1190.113898