Author: web_admin

Highlight Activities 2020:งานวิจัย

Highlight Activities 2020: Immobilization of cadmium in contaminated soil using organic amendments and its effects on rice growth performance

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : การบริโภคข้าวปนเปื้อนแคดเมียมส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ มากมายโดยเฉพาะโรคทางกระดูกและโรคไตเรื้อรัง การแก้ไขปัญหาแคดเมียมปนเปื้อนในพืชอาหารทางการเกษตรโดยการประยุกต์ใช้สารปรับปรุงดินรูปอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก และปุ๋ยหมัก ได้รับการพิจารณาว่ามีประสิทธิภาพต่อการลดการดูดซึมแคดเมียมของพืชผ่านทางราก งานวิจัยนี้ได้เลือกศึกษา โดยนำข้าวสายพันธุ์ไทย ๒ พันธุ์ ได้แก่ ช่อราตรี และหอมมะลิแดง ปลูกในดินปนเปื้อนแคดเมียมผสมมูลวัว

Read More
Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Cadmium (Cd) and Zinc (Zn) accumulation by Thai rice varieties and health risk assessment in a Cd-Zn co-contaminated paddy field

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : การทำเหมืองสังกะสีในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ส่งผลต่อ การปนเปื้อนแคดเมียม และ สังกะสีในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตร ข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญและให้ผลผลิตที่มีคุณภาพสูง ซึ่งสะสมปริมาณแคดเมียมเกินค่ามาตรฐานการบริโภคที่กำหนดโดย CODEX ในระดับ ๐.๒ มิลลิกรัม/กิโลกรัม และประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากการได้รับพิษแคดเมียม ทำให้เกิดโรคทางกระดูกและโรคไตเรื้อรัง ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้ศึกษาหาวิธีในการลดการเคลื่อนที่ของแคดเมียมและสังกะสี โดยเลือกใช้สารปรับปรุงดิน

Read More
Highlight Activities 2021:งานวิจัย

Highlight Activities 2021: Root hair phenotypes influence nitrogen acquisition in maize

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : เนื่องจากองค์ความรู้เกี่ยวกับหน้าที่ของขนรากต่อประสิทธิภาพการดูดซับไนโตรเจนยังมีอยู่น้อยมาก คณะผู้วิจัยจึงได้ศึกษาหน้าที่ของขนรากโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยโมเดลชื่อ SimRoot และทดสอบข้าวโพดที่มีความแตกต่างในความยาวของขนรากในระบบโรงเรือนและในแปลงเพาะปลูก ผลจากการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์แสดงให้เห็นว่าขนรากที่ยาวและหนาแน่นสามารถเพิ่มการดูดซับไนโตรเจนได้ การทดลองในโรงเรือนเพาะปลูก แสดงให้เห็นว่าแอมโมเนียมไม่มีผลต่อความยาวขนรากแต่ภาวะไนเตรทต่ำเพิ่มความยาวขนราก ในขณะที่กี่ทดลองในแปลงปลูกพบว่าภาวะไนโตรเจนต่ำลดความยาวของขนราก การมีขนรากยาวมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มชีวมวล ๒๑๖% และการสะสมไนโตรเจน ๒๓๗%  ในสภาวะไนโตรเจนต่ำในโรงเรือนเพาะปลูก เพิ่มชีวมวล ๒๕๐%  และการสะสมไนโตรเจน ๒๐๐% 

Read More
อาจารย์

ภาควิชาชีววิทยา ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ ดร.วัชรีพร ตฤณชาติวณิชย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชรีพร ตฤณชาติวณิชย์ (ภาควิชาชีววิทยา) ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ตำแหน่ง “รองศาสตราจารย์” สาขาวิชาชีววิทยา

Read More
Highlight Activities 2022:RELATED SDGs : 15งานวิจัย

Highlight Activities 2022: Genetic analysis of hybridization between white-handed (Hylobates lar) and pileated (Hylobates pileatus) gibbons in a contact zone in Khao Yai National Park, Thailand

Asst. Prof. Chalita Kongrit โดยปกติแล้วชะนีแต่ละชนิดที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติมีการกระจายตัวไม่ซ้อนทับกัน (allopatric distribution)  แต่มีเพียง 3 แห่งในโลกนี้เท่านั้นที่พบชะนีต่างชนิดอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นเพียงพื้นที่เดียวที่พบชะนีมือขาว (Hylobates lar) และชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatus) อาศัยอยู่ในพื้นที่ซ้อนทับ (contact zone) ร่วมกัน

Read More
กิจกรรมเสริมสัมมนาหลักสูตร

งานเสวนาออนไลน์ webinar โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

ขอเชิญเข้าร่วมงานเสวนาออนไลน์ webinar โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพร่วมกับภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง Biodiversity forum วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2565  เวลา 13.30-16.30 น. โดย ศ.เกียรติคุณ ดร.วิสุทธิ์ ใบไม้ เรื่อง

Read More
อาจารย์

ภาควิชาชีววิทยา ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ ดร.อินทนนท์ กลศาสตร์เสนี

อาจารย์ ดร.อินทนนท์ กลศาสตร์เสนี (ภาควิชาชีววิทยา) ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ตำแหน่ง “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” สาขาวิชานิเวศวิทยา

Read More
รางวัลอาจารย์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อุ่นใจ (ภาควิชาชีววิทยา)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อุ่นใจ (ภาควิชาชีววิทยา) ในโอกาสได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2565 จากสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

Read More
หลักสูตร

แนะนำสาขาเอก 2565

งานการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมแนะนำสาขาเอก ให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 เพื่อให้ใช้เป็นข้อมูลประกอบการเลือกสาขาเอกในการศึกษาต่อในชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยมีกำหนดการดังนี้ ทั้งนี้ได้มีนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ร่วมลงทะเบียนเพื่อเข้าเยี่ยมชมทำความรู้จักกับภาควิชาต่าง ๆ ทั้งในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์ ตามมาตราการป้องกันโรคระบาดโควิด-19 โดยมีจำนวนและจำแนกตามประเภทการเข้าร่วมงานดังนี้ ทั้งนี้สำหรับภาควิชาชีววิทยา จะเปิดรับนักศึกษาเข้าสู่สาขาในชั้นปีที่ 2

Read More
นักศึกษารางวัลอาจารย์

ขอแสดงความยินดีกับทีมอาจารย์-นักศึกษา ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม Best Oral Presentation จากการประชุมวิขาการระดับนานาชาติ

ขอแสดงความยินดีกับทีมอาจารย์-นักศึกษา ภาควิชาชีววิทยา นักศึกษาปริญญาเอก Kwang Mo Yang อาจารย์ เติมทิพย์ พูลภักตร์ อาจารย์ ประหยัด โภคฐิติยุกต์ เนื่องในโอกาสได้รับรางวัล The best oral presentation เรื่อง “The Effect

Read More
หลักสูตร

แบบฟอร์มสำหรับใช้จองห้องของภาควิชาชีววิทยา

อาจารย์ที่ต้องการจองห้องของภาควิชาสำหรับการสอนหรือประชุมตามลิ้งข้างล่างนี้: https://docs.google.com/forms/d/1I3OmdEqCHSepBRQvTDW5egKWyzWa-hk6tr_5vRlGuNI/edit ตารางการจองห้อง https://calendar.google.com/calendar/embed?src=hybridroombooking%40gmail.com&ctz=Asia%2FBangkok หมายเหตุ: หากอาจารย์ต้องการใช้ห้อง N500 กรุณาแจ้งที่ นางภัคจิรา เกตุบุตร ด้วยครับ

Read More