งานประชุมวิชาการอนุกรมวิธานและซิสเทมาติคส์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12

The 12th Conference on Taxonomy and Systematics in Thailand 6-8 มิถุนายน 2567 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท “Biodiversity for Wealth and

Read more

Science Project Exhibition 2023

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดนิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 24 ขึ้น ในวันศุกร์ที่ 26 พ.ค. 2566 (Science Project Exhibition 2023) หรือ SciEx2023 ในรูปแบบออนไลน์ โดยมีนักศึกษาของภาควิชาชีววิทยาเข้าร่วมนำเสนอผลงาน และได้รับรางวัล ดังนี้

Read more

ปัจฉิมนิเทศ 2566

ภาควิชาชีววิทยา จัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในวันพุธที่ 3 พฤษภาคม 2566 ระหว่างเวลา 13:30-16:30 ณ ห้องประชุมอาคารสตางค์ มงคลสุข กำหนดการ 13:15 ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน 13:30 พิธีเปิด และการบรรยาย “เตรียมตัวอย่างไร ให้เป็นบัณฑิตใหม่อย่างปัง”

Read more

หลักสูตรชีววิทยา รับการประเมิน MU AUN-QA

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา รับการประเมินตามเกณฑ์ MU AUN-QA โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จากมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 27-28 มีนาคม 2566 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาววิทยาลัยมหิดล พญาไท พบผู้บริหารคณะ ภาควิชา และหลักสูตร เยี่ยมชมงานการศึกษา เยี่ยมชมห้องเรียน

Read more

ลงทะเบียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

กำหนดการลงทะเบียนปกติ ชั้นปีที่ 1-4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ระหว่างวันที่ 19 ธ.ค. 2565 – 2 ม.ค. 2566 ชั้นปีที่ 1 (ทุกสาขาวิชา) หมายเหตุ: เมื่อนำหน่วยกิตของ

Read more

Highlight Activities 2021: Genetic controls of root architectural traits in KDML105 chromosome segment substitution lines under well-watered and drought stress conditions

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : ความแห้งแล้งเป็นปัจจัยจำกัดหลักในการปลูกข้าวในนาน้ำฝนและลักษณะโครงสร้างรากมีความสำคัญในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีความทนแล้ง ในการศึกษานี้คณะผู้วิจัยได้ใช้ Chromosome segment substitution lines ของข้าวขาวดอกมะลิ 105 (KDML105-CSSLs) ในการศึกษาการควบคุมทางพันธุกรรมและการตอบสนองทางสรีระวิทยาของรากข้าวในสภาวะแล้งโดยปลูกในพื้นที่ทางภาคกลางจังหวัดนครปฐม และ พื้นที่ในจังหวัดอุบลราชธานี ในพื้นที่ภาคกลางนั้นมีลักษณะเป็นดินเหนียวในขณะที่พื้นที่ในจังหวัดอุบลราชธานีมีลักษณะเป็นดินทรายที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มประชากรข้าวที่ศึกษามีลักษณะโครงสร้างรากที่มีความหลากหลายและแตกต่างกันในด้านการตอบสนองต่อสภาวะแล้งระหว่างสองพื้นที่ ข้าวในที่พื้นที่ภาคกลางมีการตอบสนองต่อสภาวะแล้งโดยการเพิ่มความหนาแน่นของรากแขนงขึ้น 77% ในขณะที่ลักษณะดังกล่าวลดลง

Read more

Highlight Activities 2020: Immobilization of cadmium in contaminated soil using organic amendments and its effects on rice growth performance

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : การบริโภคข้าวปนเปื้อนแคดเมียมส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ มากมายโดยเฉพาะโรคทางกระดูกและโรคไตเรื้อรัง การแก้ไขปัญหาแคดเมียมปนเปื้อนในพืชอาหารทางการเกษตรโดยการประยุกต์ใช้สารปรับปรุงดินรูปอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก และปุ๋ยหมัก ได้รับการพิจารณาว่ามีประสิทธิภาพต่อการลดการดูดซึมแคดเมียมของพืชผ่านทางราก งานวิจัยนี้ได้เลือกศึกษา โดยนำข้าวสายพันธุ์ไทย ๒ พันธุ์ ได้แก่ ช่อราตรี และหอมมะลิแดง ปลูกในดินปนเปื้อนแคดเมียมผสมมูลวัว

Read more

Highlight Activities 2021: Cadmium (Cd) and Zinc (Zn) accumulation by Thai rice varieties and health risk assessment in a Cd-Zn co-contaminated paddy field

สรุปโดยสังเขปว่า มีเนื้อหาเกี่ยวกับ : การทำเหมืองสังกะสีในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ส่งผลต่อ การปนเปื้อนแคดเมียม และ สังกะสีในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตร ข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญและให้ผลผลิตที่มีคุณภาพสูง ซึ่งสะสมปริมาณแคดเมียมเกินค่ามาตรฐานการบริโภคที่กำหนดโดย CODEX ในระดับ ๐.๒ มิลลิกรัม/กิโลกรัม และประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากการได้รับพิษแคดเมียม ทำให้เกิดโรคทางกระดูกและโรคไตเรื้อรัง ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้ศึกษาหาวิธีในการลดการเคลื่อนที่ของแคดเมียมและสังกะสี โดยเลือกใช้สารปรับปรุงดิน

Read more